Smart Unity 2021

Page 1

1 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


งานราชการนั้น เป็นงานที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับวิถีชีวิต ของประชาชน ซึ่งมีความเปลี่ยนแปลงอยู่เป็นปรกติ ตามสถานการณ์ และกาลเวลาที่เปลี่ยนแปลงไป. ข้าราชการทุกคนจึงต้องทำ�ความเข้าใจ งานในหน้าที่ของตนให้กระจ่างชัด และรู้เท่าทันความเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้น แล้วปฏิบัติหน้าที่ให้สอดคล้องเหมาะสม โดยยึดมั่นแน่วแน่ อยู่ในเป้าหมายของการปฎิบัติราชการ คือประโยชน์สุขของประชาชน และความเจริญมั่นคงของประเทศชาติ. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระบรมราโชวาท 2 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

เนื่องในวันข้าราชการพลเรือน ประจำ�ปี 2564


อคติ ลำ�เอียงเพราะรัก ลำ�เอียงเพราะเกลียด ลำ�เอียงเพราะกลัว ลำ�เอียงเพราะโง่ อะไรก็สุดแท้ เรียกว่า อคติทั้งนั้น แต่ให้อยู่ในร่องในรอย คือ อยู่ใน คติ อันนี้ยากมาก เพราะว่ามันเป็นการสู้รบกันกับกิเลส กิเสลมันดึงเราออกนอกทาง ออกนอกคติ ไปสู่อคติ


จัดหาวัคซีนโควิด - 19 ให้แก่ประชาชน เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ได้ตอบสนองนโยบายของ รัฐบาล และจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในเรื่องของการได้ รับวัคซีนของประชาชนให้ได้เร็ว และครอบคลุม โดย ให้ความสำ�คัญกับเรื่องวัคซีนเป็นอันดับต้นๆ จึงได้ ดำ�เนินการให้ประชาชนในเขตเทศบาลได้รับวัคซีนทาง เลือก โดยการจัดซือ ้ วัคซีนซิโนฟาร์ม จากราชวิทยาลัย จุ ฬ าภรณ์ จำ � นวน 30,000 โด๊ ส (งบประมาณ 29,640,000 บาท) มาบริหารจัดการให้กับประชาชน ได้รับวัคซีนครบทั้ง 2 เข็ม ผลของการบริหารจัดการ ในเรื่องวัคซีนดังกล่าวของเทศบาล ทำ�ให้ประชาชนที่ ได้รับวัคซีน สามารถลดความรุนแรงของโรค และลด โอกาสเสียชีวิตของคนที่เป็นโรคได้ ซึ่งได้รับผลตอบ รับจากประชาชนส่วนใหญ่เป็นอย่างดี นี่คือหนึ่งใน 9 นครต้นแบบ #นครสุขภาพ ที่เทศบาล นครสุ ร าษฎร์ ธ านี มี ค วามตั้ ง ใจอย่ า งแน่ ว แน่ ที่ จ ะ พัฒนาและนำ�สิง ่ ทีด ่ ท ี ส ี่ ด ุ สูพ ่ น ี่ อ ้ งประชาชน ภายใต้หลัก “มีธรรมาภิบาล ทำ�งานเพื่อประชาชน”

4 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


สารจากนายก เรียนพี่น้องชาวเทศบาลนครสุราษฎร์ธานีท่เี คารพรักทุกท่าน ผมรู้สึก ยินดีและเป็นเกียรติประวัตแิ ก่ตนเองอย่างยิง ่ ทีไ่ ด้รบ ั ความไว้วางใจจาก พีน ่ อ ้ งชาวเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ให้เข้ามาทำ�หน้าทีบ ่ ริหารเทศบาล นครสุราษฎร์ธานี ย้อนกลับไปเมือ ่ วันที่ 7 ธันวาคม 2478 “สุขาภิบาล เมืองสุราษฎร์ธานี” ได้รบ ั การยกฐานะเป็น “เทศบาลเมืองสุราษฎร์ธานี” ต่อมาการเจริญเติบโตของบ้านเมืองขยายอย่างรวดเร็วทำ�ให้พ้น ื ที่รับ ผิดชอบของเทศบาลเมืองสุราษฎร์ธานีกไ็ ด้ขยายพืน ้ ทีร่ บ ั ผิดชอบตามไป ด้วย ต่อมาวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2550 เทศบาลเมืองสุราษฎร์ธานี ได้ รับการยกฐานะเป็น “เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี” จนเวลาผ่านไปเมือ ่ วันที่ 7 ธันวาคม 2564 ครบรอบ 86 ปี ของเทศบาลแห่งนี้ ทีม ่ ค ี วามเปลีย ่ นแปลง อย่างมากมาย การพัฒนานครสุราษฎร์ธานี ให้ยั่งยืน และเป็นเมืองน่าอยู่ จำ�เป็นต้องอาศัยผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นสมาชิก สภาเทศบาล พนักงานเทศบาล ลูกจ้าง ส่วนราชการ ภาคเอกชน และประชาชน ที่ร่วมแรง ร่วมใจในการทำ�งาน เพื่อพี่ น้องประชาชน มุ่งสู่ “นครสุราษฎร์ธานี เมืองน่าอยู่” ด้วย 6 ยุทธศาสตร์การพัฒนา ได้แก่ ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้าน โครงสร้างพื้นฐาน เกี่ยวกับถนนหนทาง ไฟฟ้า ประปา เราก็ได้ปรับปรุง ซ่อมแซม สร้างและเสริมให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว เมืองของเรา เปิดต้อนรับนักท่องเที่ยวอย่างมากมายในแต่ละปี ส่งผลให้มก ี ารขยายตัวทางเศรษฐกิจท้องถิน ่ ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง ่ แวดล้อม รณรงค์ และร่วมสร้างจิตสำ�นึกกับพีน ่ อ ้ งประชาชนในเรือ ่ งการรักษาสิง ่ แวดล้อม ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการส่งเสริม คุณภาพชีวต ิ มีการพัฒนาระบบการรักษาสุขภาพ ส่งเสริมสุขอนามัย วิถช ี ว ี ต ิ ความเป็นอยู่ ให้แก่พน ี่ อ ้ งประชาชนทุกช่วงวัย ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีทอ ้ งถิน ่ ปลูกฝังการรักษาประเพณีอน ั ดีงาม ตัง ้ แต่เยาวชน ผ่านการเรียน การศึกษา รวมถึง ร่วมรักษาวัฒนธรรมประเพณีอน ั ดีงาม ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการ บริหารจัดการที่ดี สร้างสรรค์การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพื่อประโยชน์สูงสุดของเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ตาม หลัก “มีธรรมาภิบาล ทำ�งานเพื่อประชาชน” โดยขับเคลื่อนควบคู่ไปกับ “9 นครต้นแบบ” ได้แก่ นครเลิศรส นครสะอาด นครสะดวก นครอนามัย นครน่าเที่ยว นครมีสุข นครปลอดภัย นครของโอกาส และนครประเพณีดีงาม เพื่อช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำ�งาน ดังทีผ ่ มบอกแก่พน ี่ อ ้ งประชาชนชาวเทศบาลนครสุราษฎร์ธานีวา่ นับเป็นเกียรติ อย่างยิง ่ ทีไ่ ด้ท�ำ หน้าทีใ่ นการบริหารเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี เพือ ่ พัฒนาบ้านเมืองของเราให้มค ี วามพร้อมในทุก ๆ ด้าน ที่สำ�คัญเพื่อพี่น้องชาวเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ผมขอขอบคุณพีน ่ อ ้ งประชาชนชาวเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ตลอดระยะเวลาทีผ ่ า่ นมา ทีไ่ ด้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดียง ่ ิ ในทุก ๆ ด้าน และผมพยายามทุม ่ เทกำ�ลังกายกำ�ลังใจในการปฏิบต ั ห ิ น้าที่ อย่างเต็มกำ�ลังความสามารถ เพือ ่ ให้เกิดประโยชน์แก่พน ่ี อ ้ ง ประชาชน และลูกหลานในยุคต่อๆ ไปของเรา ได้อยูก ่ น ั อย่างมีความสุขในบ้านหลังนีข ้ องเรา

นายประเสริฐ บุญประสพ นายกเทศมนตรีนครสุราษฎร์ธานี 5 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


CONTENTS

สารบัญ

โครงสร้างการบริหารงาน คณะผู้บริหารเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี สภาเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี หัวหน้าส่วนราชการเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ข้อมูลพื้นฐานเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี วิสัยทัศน์ รางวัลแห่งความสำ�เร็จ ยุทธศาสตร์ที่ 1 • ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ยุทธศาสตร์ที่ 2 • ด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ที่ 3 • ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 4 • ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต ยุทธศาสตร์ที่ 5 • ด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการบริหารจัดการที่ดี พัฒนาอย่างยั่งยืน 9 นครต้นแบบ ผลการดำ�เนินงานด้านรายรับ-รายจ่าย ผลการดำ�เนินงานด้านงานข้อมูลทะเบียนราษฎร งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สถานธนานุบาล ผู้นำ�องค์กรเครือข่ายภาคประชาชน แจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย

7 9 11 16 21 24 26 30 32 40 44 56 70 76 78 80 81 82 84 85

ผู้จัดทำ� เจ้าของ : เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ที่ปรึกษา : ปลัดเทศบาล, รองปลัดเทศบาล, ผอ. สำ�นัก/กอง, ทุกสำ�นัก/กอง จัดทำ�โดย : งานส่งเสริมและเผยแพร่วิชาการ, ฝ่ายบริการและเผยแพร่วิชาการ, กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ที่อยู่ : 18 ถนนภักดีอนุสรณ์ อ.เมือง จ. สุราษฎร์ธานี 84000 โทร : 0-7720-6771 Website : www.suratcity.go.th นครสุราษฎร์ธานี เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ออกแบบและจัดพิมพ์ : บริษัท แสงรุ้ง ครีเอทีฟ จำ�กัด โทร : 099-5235199 E-mail : sangrungcreative@gmail.com


โครงสร้างการบริหาร

นางสมบูรณ์ สุวรรณบุตร นางสุชาดา ศิลปพรหมมาศ ที่ปรึกษา

ที่ปรึกษา

นายแฟง สุวรรณบุตร รองนายกเทศมนตรี

นายถวิล เรืองทอง ที่ปรึกษา

นายรักพงษ์ แซ่ตง ้ั รองนายกเทศมนตรี

พันจ่าตรีอรรนพ พฤกษวานิช รองปลัดเทศบาล

สำ�นักปลัดเทศบาล

สำ�นักคลัง

สำ�นักช่าง

นายประเสริฐ บุญประสพ

นางสาวสุมณฑา ยมแก้ว ปลัดเทศบาล

และงบประมาณ

เลขานุการ

นายหัสชัย เรืองนุ้ย รองนายกเทศมนตรี

นายรังษี หลิมกาํ เหนิด รองปลัดเทศบาล

สำ�นักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

กองยุทธศาสตร์

นายณรงค์เวทย์ พัชราพงศ์

นายกเทศมนตรี

เลขานุการ

นายศักดา สมบูรณ์ลก ั ขณา รองนายกเทศมนตรี

นางสุภาวดี ศรีเปารยะ รองปลัดเทศบาล

สำ�นักการศึกษา

กองสวัสดิการสังคม

นายวิทยา เย็นแจ่ม

กองการเจ้าหน้าที่

กองสารสนเทศภาษี

สถานธนานุบาล

หน่วยงานตรวจสอบภายใน

และทะเบียนทรัพย์สน ิ

7 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


8 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


คณะผู้บริหาร

นายหัสชัย เรืองนุ้ย รองนายกเทศมนตรี นครสุราษฎร์ธานี

นายแฟง สุวรรณบุตร รองนายกเทศมนตรี นครสุราษฎร์ธานี

นายศักดา สมบูรณ์ลักขณา นายรักพงษ์ แซ่ตั้ง นายประเสริฐ บุญประสพ

นายกเทศมนตรีนครสุราษฎร์ธานี

รองนายกเทศมนตรี นครสุราษฎร์ธานี

รองนายกเทศมนตรี นครสุราษฎร์ธานี

9

รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


ทีป ่ รึกษาและเลขานุการนายกเทศมนตรีนครสุราษฎร์ธานี

นายถวิล เรืองทอง

นายณรงค์เวทย์ พัชราพงศ์

ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี

นางสมบูรณ์ สุวรรณบุตร ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี

10 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

เลขานุการนายกเทศมนตรี

นางสุชาดา ศิลปพรหมมาศ ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี

นายวิทยา เย็นแจ่ม

เลขานุการนายกเทศมนตรี


ประธานและรองประธานสภาเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

นายนพดล ประเสริฐ

ประธานสภาเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

นายสมบัติ สมบูรณ์ลักขณา

รองประธานสภาเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

11 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


สมาชิกสภาเทศบาล

นายสมบัติ สมบูรณ์ลักขณา

นายธวัชชัย ศรีวัชรกาญจน์

นายพงษ์อมร ปิ่นนัย

12 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

เขต 1

นายมนัสวี แซ่เตี้ยว

นายสุวัธชัย ศรีโพธิ์ชัย นายวิญญู นาคเทวัญ


สมาชิกสภาเทศบาล

นายนราศักดิ์ บุญโญ นายสุชาติ จันทร์ทอง

นางอรทัย ช่อโต

เขต 2

นางสาวหทัยกาญจน์ เพชรมีศรี

นายสันติ นุ้ยเมือง

นายมนต์ชัย หมื่นระย้า

13 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


สมาชิกสภาเทศบาล

นายทิวา กุฎอินทร์

เขต 3

นายโกศล ทองคลองไทร นายมโนช นาคพล

14 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

นายพรเลิศ สุทธิรักษ์

นายวรรักษ์ เนียมสุวรรณ

นายศิลปชัย ทับทิมทอง


สมาชิกสภาเทศบาล

นายเชาวนันท์ สุวรรณบุตร

นายวิสา ประสงค์จินดา

นายนพดล ประเสริฐ

เขต 4

นายสุวคนธ์ เรืองนุ้ย

นายจรวย คงท่าเรือ

นายอภิรักษ์ พูลมาศ

15 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


หัวหน้าส่วนราชการ เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

นางสาวสุมณฑา ยมแก้ว ปลัดเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

นางสาวรัตนา บัวเพชร ผู้อำ�นวยการ โรงเรียนเทศบาล ๕

นายรังษี หลิมกำ�เหนิด รองปลัดเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

นางสิริสมบูรณ์ อู่เงิน ผู้อำ�นวยการโรงเรียน เทศบาล ๓ (ตลาดล่าง)

16 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

นางสุภาวดี ศรีเปารยะ รองปลัดเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

นางปรียา โกละกะ ผู้อำ�นวยการโรงเรียน เทศบาล ๔ (วัดโพธาวาส)

พันจ่าตรีอรรนพ พฤกษวานิช รองปลัดเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

นางลักษมี ชุมภูธร ผู้อำ�นวยการโรงเรียน เทศบาล ๑ (แตงอ่อนเผดิมวิทยา)

นายรณชัย เรืองรักษ์ ผู้อำ�นวยการ โรงเรียนกีฬาเทศบาลฯ


หัวหน้าส่วนราชการ เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

2 1

3

4

8

5 6

9

7

1 นายประเสริฐ สุขคะโต ผู้อำ�นวยการสำ�นักช่าง

6 นางพิมพ์วิมล จิตสงค์ ผู้อำ�นวยการกองสวัสดิการสังคม

2 นางจันทร์พร สกุลพันธ์ หัวหน้าสำ�นักปลัด

7 นางพรชนก ตู้บรรเทิง ผู้อำ�นวยการกองยุทธศาสตร์และงบประมาณ

3 นางกิติมา เพียรเจริญศักดิ์ รักษาราชการแทนผู้อำ�นวยการ สำ�นักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

8 นางสุธัญญา ศุภฉายากุล รักษาราชการแทนผู้อำ�นวยการสำ�นักการศึกษา

4 นางสาวบุษรา พรมจันทร์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักคลัง 5 นางสาวจันทร์จิรา ชูระบำ� ผู้อำ�นวยการกองการเจ้าหน้าที่

10

9 นายพิสิฐพร ศรีคำ�นวณ ผู้อำ�นวยการกองสารสนเทศภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน 10 นายประเสริฐ สมรวย ผู้จัดการสถานธนานุบาล

17 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


18 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


เมืองสุราษฏร์ธานี

19 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


20 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน ฯ ความเป็นมาของเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี เดิมเป็นชุมชนทีต ่ ง ั้ อยูใ่ นตำ�บลตลาด อำ�เภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จัดรูปแบบการปกครอง แบบสุขาภิบาล ต่อมาในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นระบอบ ประชาธิปไตย จึงได้มีการตรากฎหมายเกี่ยวกับเทศบาลฉบับแรกขึ้น คือ พระราชบัญญัติระเบียบเทศบาล พ.ศ. 2476 ซึ่ง มีผลทำ�ให้สข ุ าภิบาลเมืองสุราษฎร์ธานี ได้รบ ั การยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองสุราษฎร์ธานี เมือ ่ วันที่ 10 ธันวาคม 2478 และ เปลีย ่ นแปลงเขตครัง ้ ล่าสุดเมือ ่ วันที่ 21 ธันวาคม 2537 จากพืน ้ ทีเ่ ดิม 6.95 ตารางกิโลเมตร เป็น 68.97 ตารางกิโลเมตร และได้เปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2550 สำ�หรับดวงตราสัญลักษณ์ของเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี เป็นรูปโล่ห์มีปีกสมอเทิดรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีความหมายว่า เทศบาลนครสุราษฎร์ธานีเป็นเมืองท่า ตั้งอยู่ริมแม่น้ำ�และทะเล ภายใต้การปกครองแบบประชาธิปไตย อาณาเขตติดต่อ เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี มีพื้นที่ 68.97 ตารางกิโลเมตร ลักษณะพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำ�ตาปีไหลผ่านภายในเขตเทศบาล โดยมีอาณาเขตดังนี้ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

ติดต่อกับ ติดต่อกับ ติดต่อกับ ติดต่อกับ

ตำ�บลบางชนะ ตำ�บลคลองฉนากและตำ�บลท่าทองใหม่ ตำ�บลวัดประดู่และตำ�บลขุนทะเล แนวเขตป่าสงวนแห่งชาติเขาท่าเพชร และอำ�เภอกาญจนดิษฐ์ ตำ�บลบางชนะ ตำ�บลบางใบไม้ และตำ�บลวัดประดู่

ประชากร ข้อมูลเกี่ยวกับจำ�นวนประชากร ประชากรทั้งหมดตามสถิติทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 จำ�นวน 132,802 คน แบ่งเป็น ชาย 63,229 คน หญิง 69,573 คน และมีจำ�นวนครัวเรือน 76,234 หลังคาเรือน

21 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


22 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


23 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์การพัฒนา และเป้าประสงค์ วิสัยทัศน์เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี เมืองน่าอยู่ สู่สังคมแห่งความสุข ยุทธศาสตร์การพัฒนาเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว 3. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาด้ า นการจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการศึกษาศาสนาศิลปวัฒนธรรมและ ประเพณีท้องถิ่น 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหารจัดการที่ดี เป้าประสงค์ 1. มี ร ะบบสาธารณู ป โภคและสาธารณู ป การที่ ไ ด้ ม าตรฐานและทั่ ว ถึ ง มีระบบการจราจร และการขนส่งที่มีประสิทธิภาพ สะดวกปลอดภัย มีการปรับปรุงผังเมืองรวม และการใช้ที่ดิน อย่างเหมาะสม 2. ประชาชนมีรายได้เพียงพอต่อการดำ�รงชีพและพัฒนาการท่องเทีย ่ ว ตามศักยภาพ 3. เมืองสีเขียว สะอาด สิ่งแวดล้อมดี มีการพัฒนาที่ยั่งยืน 4. ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนมีสุขภาพดี อยู่ในสังคมอย่างมีความสุขและ ได้รับสวัสดิการอย่างทั่วถึง 5. มีแหล่งเรียนรู้ และองค์ความรู้ที่หลากหลายและมีคุณภาพ อนุรักษ์ ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมจารีตประเพณี วิถีชีวิต ภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. มีระบบการบริหารจัดการที่ดีและประชาชนมีส่วนร่วม

24 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


25 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


รางวัลแห่งความสำ�เร็จ รายงานผลการปฏิบัติงานในช่วงการแพร่ระบาด ของโควิด-19 ระลอก 2 (เม.ย.2564 - ก.ย. 2564) ในเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ตรวจพบผู้ป่วย โควิด-19 4,796 สอบสวนผู้เสี่ยงสูง 5,328 ดูแลผู้เสี่ยงสูงใน LQ 913 ฉีดวัคซีน Sinopharm(งบประมาณเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี) 15,000 ร่วมฉีดวัคซีนเชิงรุกในเขตเทศบาล 1,448 ตรวจ ATK 60,156 ดูแลสถานประกอบการ/ตลาด ตรวจ ATK 122 ลงพื้นที่ ACF ทำ� ATK เชิงรุกในเขตเทศบาล 36 ตรวจ ATK หน่วยงานตาม ร้องขอ 216

ราย ราย ราย ราย ราย ราย ราย ครั้ง ครั้ง

เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี * ข้อมูลถึง 30 ก.ย.64*

ผู้เสี่ยงสูง(HRC)

ผู้ป่วย

สะสม

เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน

177 572 360 674 1,713 1,832

183 ราย 236 ราย 100 ราย 191 ราย 758 ราย 3,328 ราย

5,328

4,796 ราย

26 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


27 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


28 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


29 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


การพัฒนาเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ให้มค ี วามเจริญรุง ่ เรือง แบบยั่งยืน ระบบโครงสร้างพื้นฐานเป็นสิ่งสำ�คัญอย่างยิ่ง เพราะเปรียบเสมือนการวางรากฐานหรือทิศทางการพัฒนา เมืองในด้านต่าง ๆ โดยเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี มีเป้าหมาย สำ � คั ญ คื อ การมุ่ ง เน้ น ให้ ป ระชาชนได้ รั บ ประโยชน์ สู ง สุ ด สร้ า งความปลอดภั ย ในชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น เพิ่ ม มาตรฐาน ด้านความปลอดภัย พัฒนาคุณภาพชีวิต เช่น การก่อสร้าง เส้นทางคมนาคมให้ได้มาตรฐาน เชือ ่ มโยงเป็นเครือข่ายอย่าง ทั่วถึง ปรับปรุงระบบการจราจร ระบบระบายน้ำ� ระบบไฟฟ้า แสงสว่าง ปรับปรุงระบบผังเมือง ปรับปรุงและบำ�รุงรักษา สวนสาธารณะ และโครงการด้านต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหาความ เดือดร้อน จึงจำ�เป็นต้องมีการวางแผนในการดูแลและซ่อม บำ�รุงรักษาถนน การจัดระบบการจราจร การติดตั้งระบบ สัญญานเตือนต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สน ิ ของประชาชน ตามแนวนโยบาย 9 นครต้นแบบ เพือ ่ สร้างเมืองสุราษฎร์ธานี ไปสู่ “นครสุราษฎร์ธานี ที่ยั่งยืน” #นครสะอาด #นครสะดวก #นครปลอดภัย 30 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

1

ยุทธศาสตร์การพัฒนา ด้านโครงสร้างพื้นฐาน


31 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


2 32 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

ยุทธศาสตร์การพัฒนา ด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว “สีสันเมืองสุราษฎร์” #นครน่าเที่ยว #นครเลิศรส


เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี เนรมิตเมืองแห่งความสุข ความสนุกสนาน ความเพลินเพลิน ภายใต้แนวคิด “สี ส ั น เมื อ งสุ ร าษฎร์ Suratthani color Festival” โดยจัดให้มี ดอกไม้นานาพันธุ์กว่าแสนต้น รับเทศกาล คริสต์มาสและต้อนรับปีใหม่ 2564 เพื่อเป็นการส่งเสริม การท่ อ งเที่ ย วและกระตุ้ น เศรษฐกิ จ ภายในเขตเทศบาล นครสุราษฎร์ธานี #นครน่าเที่ยว

33 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


ตรุษจีน บ้านดอน 2564 ส่งเสริมกิจกรรมและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ภายใต้ชื่องาน “ตรุษจีน บ้านดอน 2564” เพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในเทศกาลตรุษจีนของคนไทยเชื้อสายจีน

34 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


35 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


ตลาดสะพานโค้ง 100 ปี ตลาดสะพานโค้ง 100 ปี เป็นแลนด์มาร์คอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดสุราษฎร์ธานี เอกลักษณ์ คือ เป็นบ้านเรือนโบราณ และมีสะพานเชื่อมระหว่างอาคาร อายุนับ 100 ปี ในสไตล์ชิโน - โปรตุกีส บนถนนเศรษฐภักดี ในตัวเมืองสุราษฎร์ธานี ใกล้ ๆ กับถนนคนเดินริมแม่น้ำ�ตาปี นอกจากพื้นที่บริเวณนี้ จะอนุรักษ์อาคารเก่าและสะพานโค้งเชื่อมอาคารแล้ว ยังมีการปรับปรุงภูมิทัศน์สร้างความ สวยงามของอาคารเก่า เพื่อเป็นจุดแวะชมของนักท่องเที่ยวอีกด้วย ผู้ที่ชื่นชอบถ่ายภาพบรรยากาศแนววินเทจ และ การเดิน ชิม ช็อป และเช็คอินจึงไม่ควรพลาดที่จะมาเยือน เพราะมีมุมสวยๆ มากมาย ให้ได้ถ่ายรูปเป็นที่ระลึก รวมถึง สีสันอันสวยงามโดดเด่นของบานประตูหน้าบ้านแต่ละหลังที่ยังคงเอกลักษณ์ของประตูบานพับของคนจีนสมัยก่อน ไว้อย่างสมบูรณ์ เปิดทุกวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 15.00 – 22.00 น.

36 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


37 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


38 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


“ถนนคนเดิน” สีสันยามค่ำ�คืน เมืองสุราษฎร์ธานี ถนนคนเดิน (Walking Street) เป็นหนึ่งในแนวคิดการพัฒนาเมือง ที่ใช้พื้นที่เมืองให้ สอดคล้องกับวิถีชีวิตชุมชน ให้ชาวเมืองสุราษฎร์ และนักท่องเที่ยวจำ�นวนมาก ช้อปปิ้ง เลือกซือ ้ สินค้ากันอย่างคึกคักทีถ ่ นน คนเดิน ริมแม่น�้ำ ตาปี ถือเป็นอีกหนึง ่ สีสน ั ยามค่�ำ คืน ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นตลาดที่จะได้เห็นถึงวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม สถานที่ท่อง เทีย ่ ว สินค้าพืน ้ เมือง และผลิตภัณฑ์จากภูมป ิ ญ ั ญาท้องถิน ่ ของชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นแหล่งรวมงานศิลปะ แหล่งรวมศิลปิน รวมถึง เป็นเวทีในการแสดงออก ตลอดจน เป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำ�หรับนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ เปิดทุกวัน เสาร์ เวลา 16.00 – 22.00 น.

39 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


3

ยุทธศาสตร์การพัฒนา ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจัดการขยะในชุมชน #นครสะอาด

ในปีงบประมาณ 2564 โครงการการจัดการขยะในชุมชนของเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ได้ ขับเคลื่อนกระบวนการมีส่วน ร่วมของประชาชนทุกภาคส่วนในการจัดการขยะตัง ้ แต่ตน ้ ทาง ถึงปลายทาง ผ่านกิจกรรมต่างๆคือกิจกรรมอบรมให้ความ รูด ้ ้านการจัดการขยะให้แก่ชม ุ ชน สถานศึกษา สถานประกอบการ สมาชิกศูนย์วัสดุรไี ซเคิล กลุม ่ อาชีพซาเล้งค้นหาขยะใน เขตเทศบาล และอาสาสมัครท้องถิน ่ รักษ์โลก (อถล.) กิจกรรมส่งเสริม การลด คัดแยกขยะทัว ่ ไป, ขยะรีไซเคิล, ขยะอินทรีย์ เพื่อนำ�ไปใช้ประโยชน์ กิจกรรมส่งเสริม การลด คัดแยกคัดแยกขยะอันตราย โดยกิจกรรมหลากหลายรูปแบบ มากกว่า 12 กิจกรรม รวมถึงกิจกรรมสนับสนุนการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้คาร์บอนต่ำ�เมืองคนดี ซึ่งจากการดำ�เนินกิจกรรม ทั้งปี ทำ�ให้เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี สามารถลดปริมาณขยะอินทรีย์ได้ จำ�นวน 495.99 ตัน, ลดปริมาณขยะรีไซเคิลได้ จำ�นวน 312.7 ตัน, ลดปริมาณขยะทั่วไปได้ จำ�นวน 4.23 ตัน และสามารถลดปริมาณขยะอันตรายได้ จำ�นวน 0.57 ตัน

40 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


41 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


กิจกรรม Plastic bank เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ร่วมกับ องค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล สำ�นักงานประเทศไทย (WWF-Thailand) และโครงการวน ร่วมกันจัดการขยะพลาสติกในโครงการบริหารจัดการพลาสติก ยืดสูก ่ ระบวนการรีไซเคิลอย่างยัง ่ ยืนโดยผ่านกิจกรรม Plastic bank ของเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี โดยกิจกรรม Plastic bank เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมการคัดแยกพลาสติกยืด อาทิ ถุงหูหิ้ว ถุงช้อปปิ้ง ฟิล์มหุ้มขวดน้ำ� ฟิล์มหุ้มกล่อง UHT ซองยา ถุงซิบล็อก ซองไปรษณีย์พลาสติก พลาสติกกันกระแทก พลาสติกห่อสินค้า ถุงขนมปัง ถุงน้�ำ ตาลทราย ถุงน้�ำ แข็ง ถุงใส่ผก ั /ผลไม้ ทีแ่ ห้งและสะอาด สะสมไว้ แล้วนำ� มาฝากกับเทศบาลฯ ในรูปแบบของการฝากธนาคาร สมาชิกกิจกรรม Plastic bank สามารถฝากพลาสติก ยืด แล้วสะสมเป็นตัวเงิน โดยคิดราคา ณ วันที่รับฝาก และเทศบาลฯจะเป็นผู้ส่งต่อพลาสติกยืดที่คัดแยกได้ จากประชาชน ให้แก่โครงการวน เพือ ่ นำ�เข้าสูก ่ ระบวนการรีไซเคิลกลับมาเป็นผลิตภัณฑ์ทใี่ ช้ประโยชน์ได้ตอ ่ ไป

42 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


43 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


4

ยุทธศาสตร์การพัฒนา ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต กิจกรรมการตรวจสุขภาพ ทำ�หมัน สุนัขและแมวจรจัด เทศบาลนครสุ ร าษฎร์ ธ านี ได้ จั ด ทำ � กิ จ กรรมตรวจ สุขภาพ ถ่ายพยาธิ ป้องกันเห็บหมัด และทำ�หมันสุนข ั และ แมวจรจัด ที่อาศัยอยู่ในวัด จำ�นวน 15 วัดและในชุมชน 70 ชุมชน ภายใต้แผนยุทธศาสตร์การดำ�เนินโครงการ สัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัย จากโรคพิษสุนัขบ้า ตาม พระปณิธานศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าน้องนาง เธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระ ศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี โดยในปีงบประมาณ 2564 ได้ทำ�หมันสุนัขและแมวจรจัด ในวัด ในชุมชน และ ประชาชนในชุมชนนำ�มาทีส ่ �ำ นักงาน จำ�นวน 491 ตัว ซึง ่ เกินเป้าหมายที่ตั้งไว้ #นครมีสุข

44 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


45 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


กิจกรรม X-Ray ชุมชน

(เคาะประตูเยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ) #นครสุขภาพ #นครมีสุข #นครของโอกาส

46 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี มีประชากรประมาณ 130,000 คน มีผส ู้ ง ู อายุทรี่ บ ั เบีย ้ 13,000 ราย ผูร้ บ ั เบีย ้ ผูพ ้ ก ิ าร จำ�นวน 2,000 ราย เพิม ่ ขึน ้ โดยเฉลีย ่ ร้อยละ 10 ต่อปี และมีแนวโน้มเพิม ่ สูงขึน ้ ทุกปี อีกหนึง ่ การดำ�เนินงานของเทศบาล คือ ภารกิจ การลงพืน ้ ทีเ่ พือ ่ ตรวจสอบการเข้าถึงสิทธิผรู้ บ ั เบีย ้ ความพิการถึงบ้าน จากการลงพืน ้ ทีพ ่ บปัญหาผูป ้ ว ่ ยติดเตียง ยังเข้า ไม่ถง ึ สิทธิ สวัสดิการของรัฐอีกจำ�นวนมาก จึงเกิดกิจกรรม X-Ray ชุมชน (เคาะประตู เยีย ่ มบ้าน เยีย ่ มใจ) ขึน ้ และพัฒนา ต่อยอดนำ�ไปสูโ่ ครงการบันทึกพิกด ั GPS ผูร้ บ ั เบีย ้ ผูส ้ ง ู อายุและผูพ ้ ก ิ าร เทศบาลนครสุราษฎร์ธานีบริการเชิงรุกทำ�งานแบบ มีส่วนร่วมกับ ภาคส่วนราชการต่าง ๆ ตลอดจน เครือข่ายอาสาสมัครภาคประชาชน ดำ�เนินการค้นหาผู้ป่วยติดเตียง ผู้ พิการรายใหม่ทม ี่ ส ี ภาพเป็นผูป ้ ว ่ ยติดเตียง ทีย ่ ง ั ไม่มบ ี ต ั รผูพ ้ ก ิ าร เพือ ่ ให้ผพ ู้ ก ิ ารเข้าถึงสิทธิการรับเบีย ้ ยังชีพ การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ให้ก้าวผ่านความยากจน มุ่งเน้นการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืนครอบคลุมทุกมิติ สังคม เศรษฐกิจ และ สิ่งแวดล้อม โดยเริ่มจากการพัฒนาชุมชน สร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่ดี และกระจายรายได้สู่เศรษฐกิจฐานราก เพื่อขจัด ความยากจนทุกรูปแบบ (ลดกลุม ่ เปราะบางทางสังคม) สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม การลดความเหลือ ่ มล้�ำ สร้างความเป็นธรรม ตลอดจน พัฒนาสังคมให้มค ี วามปลอดภัย มีคณ ุ ภาพชีวต ิ ทีด ่ ี มีศก ั ยภาพในการแข่งขัน ประชาชน มีสุขภาวะดีขึ้น นำ�ไปสู่การสร้างนวัตกรรมทางสังคม โดยการ X-RAY ชุมชน พร้อมบันทึกพิกัดทางภูมิศาสตร์ GPS ไว้ บน Google map มี Big Data เพื่อสะดวกในการค้นหาและออกเยี่ยมบ้านบุคคลในครั้งต่อไป กิจกรรมดังกล่าวดำ�เนินมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2561 - 2564 ถือได้ว่าประสบความสำ�เร็จอย่างต่อเนื่อง วัดได้จากผู้พิการ มีบต ั รประจำ�ตัวผูพ ้ ก ิ าร จำ�นวน 100 ราย ได้รบ ั เบีย ้ ความพิการเดือนละ 800 บาท เฉลีย ่ มีรายได้เพิม ่ ขึน ้ 9,600 บาท/คน/ปี มีฐานข้อมูลในการเข้าถึงสิทธิของผู้พิการที่เป็นระบบชัดเจน

ต่อยอดไปยังโครงการบันทึกพิกด ั GPS ผูร้ บ ั เบีย ้ ผูส ้ ง ู อายุ และผูร้ บ ั เบีย ้ ความพิการ โดยได้บน ั ทึกพิกด ั GPS ผูร้ บ ั เบีย ้ พิการ จำ�นวน 1,564 พิกัด จากกลุ่มเป้าหมาย 2000 ราย คิดเป็นร้อยละ 78.20 และบันทึกพิกัด GPS ผู้รับเบี้ยสูงอายุ จาก กลุ่มเป้าหมาย 13,000 ราย 47 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ขับเคลื่อนโครงการ สัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า เพื่อสร้างนครปลอดโรคพิษสุนัขบ้าอย่างยั่งยืน ออกหน่วยเคลื่อนที่ บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า เทศบาลนครสุ ร าษฎร์ ธ านี จั ด กิ จ กรรมออกหน่ ว ย เคลื่ อ นที่ บริ ก ารฉี ด วั ค ซี น ป้ อ งกั น โรคพิ ษ สุ นั ข บ้ า ให้ กับสุนัขและแมวของประชาชนตามชุมชนต่าง ๆ ในเขต เทศบาลนครสุ ร าษฎร์ ธ านี ภายใต้ แ ผนยุ ท ธศาสตร์ การดำ�เนินโครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจาก โรคพิษสุนัขบ้า ประจำ�ปี 2564 ตามพระปณิธานของ ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี โดยได้จัดทำ�แผนปฏิบัติงาน ออกหน่วยฉีดวัคซีนให้กับสุนัขและแมว ภายในชุมชนเขต เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ฟรี!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย #นครมีสุข

48 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


โครงการอบรมและพัฒนาศักยภาพแกนนำ�สุขภาพชุมชน ในปีงบประมาณ 2564 กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ได้พัฒนาศักยภาพ อสม. ด้านความรู้ และภารกิจในชุมชน เพือ ่ สร้างเสริมความสามัคคี และส่งเสริมกระบวนการมีสว ่ นร่วมในการทำ�งานตลอดจน สนับสนุน องค์กรชุมชน ด้านสุขภาพให้มค ี วามเข้มแข็งสูก ่ ารพึง ่ ตนเอง นำ�ไปสูก ่ ารมีสว ่ นร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน ่ กับ ประชาชน ในการวางแผนและแก้ไขปัญหาชุมชน ทำ�ให้ประชาชนในพื้นที่อยู่ดีมีสุข #นครสุขภาพ

49 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


ตลาดนัด ตลาดน้ำ� บ้านดอน กว่า 12 ปี ทีเ่ ทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ได้จด ั ให้มต ี ลาดนัด ตลาดน้�ำ บ้านดอน เพือ ่ ต้องการให้ผป ู้ ระกอบการและประชาชน ผูใ้ ช้บริการได้บริโภคอาหารทีส ่ ะอาดปลอดภัยปราศจากสารปนเปือ ้ น โดยรูปแบบจะเน้นอาหารทีเ่ ป็นเอกลักษณ์พน ื้ ถิน ่ ของ ชาวสุราษฎร์ธานี ถือได้ว่าเป็นตลาดที่ให้ประชาชนในเขตเทศบาล ได้เข้ามามีส่วนร่วม ทำ�ให้พี่น้องประชาชนมีรายได้เพิ่ม ขึ้น ที่สำ�คัญ คือ เลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นตลาดที่ปลอดโฟม 100 % โดยใช้พลาสติกที่ สามารถนำ�มารีไซเคิลได้ เปิดทุกวันอาทิตย์ เวลา 15.00 – 21.00 น. ณ ริมเขื่อนแม่น้ำ�ตาปี #นครน่าเที่ยว 50 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


51 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


งานกีฬาและนันทนาการ สนามแบดมินตัน เทศบาลนครสุราษฎ5ธานี ตั้งอยู่บริเวณสวนสาธารณะสวนหลวง ร.9 ด้านในโรงยิม มีสนามแบดมินตันทั้งหมด 6 สนาม ทุกสนาม ได้มาตรฐานพร้อมอุปกรณ์อำ�นวยความสะดวกครบครัน มีห้องน้ำ�และห้องอาบน้ำ� ที่สะอาด ปลอดภัย ไว้รองรับผูม ้ าใช้บริการ โดยเปิดให้บริการเป็นประจำ�ทุกวันจันทร์ - วันอาทิตย์ ตัง ้ แต่เวลา 14.00 - 22.00 น. (ปิดวันหยุดนักขัตฤกษ์) มีอัตราค่บริการ ดังนี้ • •

นักเรียน นักศึกษา ผู้สูงอายุ 20 บาท/คน/ชั่วโมง ประชาชนทั่วไป 100 บาท/ชั่วโมง

โดยกีฬาแบดมินตันเป็นกีฬาอีกชนิดหนึ่งเทศบาลฯ มุ่งหวังให้มีการส่งเสริมการฝึกทักษะการเล่นกีฬา แบดมินตันเพือ ่ มุง ่ สูค ่ วามเป็นเลิศในระดับประเทศ อีกทัง ้ ใช้สถานทีจ ่ ด ั การซ้อม และการแข่งขันในระดับต่าง ๆ ตลอดจน เพือ ่ ให้เด็ก เยาวชน และประชาชนในเขตเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ได้เล่นกีฬาและออกกำ�ลังกาย เพื่อสุขภาพที่ดี #นครสุขภาพ 52 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


ศูนย์บริหารร่างกาย (ฟิตเนท) เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่ภายในสำ�นักงานเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ให้บริการแก่นักเรียน นักศึกษา และประชาชนในเขตเทศบาลนคร สุราษฎร์ธานี มีอป ุ กรณ์การออกกำ�ลังกายในการให้บริการทีเ่ พียงพอต่อความต้องการ ตลอดจน มีการให้ค�ำ แนะนำ�ด้าน การออกกำ�ลังกาย และตรวจเช็คอุปกรณ์ก่อนปิดให้บริการทุกวัน เพื่อสนับสนุน ให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชนใน เขตเทศบาลมีสุขภาพกายที่ดี อันจะส่งผลถึงสุขภาพจิตที่ดีตามมา โดยเปิดให้บริการทุกวันจันทร์ - วันอาทิตย์ ให้บริการ 2 ช่วงเวลา ช่วงเช้า เวลา 05.30 - 08.00 น. และช่วงบ่าย เวลา 15.30 - 20.30 น. มีอัตราค่าบริการ ดังนี้ • • •

นักเรียน นักศึกษา ครั้งละ 10 บาท ประชาชนทั่วไป ครั้งละ 20 บาท ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป (ไม่คิดค่าบริการ)

#นครสุขภาพ

53 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


ตลาดกอบกาญจน์นฤมิต

54 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


55 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


5

ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีท้องถิ่น งานประเพณีชก ั พระ – ทอดผ้าป่า และแข่งเรือยาว

เทศบาลนครสุ ร าษฎร์ ธ านี ร่ ว มกั บ จั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี การท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทย (ททท.) สำ � นั ก งานสุ ร าษฎร์ ธ านี สำ � นั ก งาน การท่ อ งเที่ ย วและกี ฬ าจั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี สำ � นั ก งานวั ฒ นธรรมจั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี และ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สุ ร าษฎร์ ธ านี ได้ กำ � หนดจั ด งานประเพณี ชั ก พระ – ทอดผ้ า ป่ า และ แข่งเรือยาว ประจำ�ปี 2563 ระหว่างวันที่ 29 กันยายน - 7 ตุลาคม 2563 รวม 9 วัน 9 คืน ณ บริเวณริมเขือ ่ นแม่น�้ำ ตาปี และบริเวณสะพานนริศ มีกจ ิ กรรมการชักพุม ่ ผ้าป่า การประกวด พุ่มผ้าป่า ขบวนแห่เรือพนมพระทางบกและทางน้ำ� และพิธีเปิดงาน #นครน่าเที่ยว #นครของโอกาส #นครประเพณีดีงาม

56 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


57 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


โครงการจัดงานประเพณีลอยกระทง ประจำ�ปี 2563

เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี จัดงานประเพณีลอยกระทง ขึ้นเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2563 ณ สถานที่ 7 จุด คือ บริเวณริมเขื่อนแม่น้ำ�ตาปี บริเวณชุมชนวัดท่าทองใหม่ บริเวณซอยศรีวิชัย 59/9 บริเวณริมบึงขุน ทะเล บริเวณสะพาน รพช. บริเวณถนนตัดใหม่-ในลึก และบริเวณปาก น้ำ�ตาปี เทศบาลฯ ได้ร่วมสืบสาน อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประเพณีและภูมิปัญญาไทย โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี และส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชน อาทิ การประกวดภาพวาด การประกวดรำ�วงมาตรฐาน พิธีขอขมา พระแม่คงคา ขบวนแห่กระทง การประดิษฐ์กระทงด้วยวัสดุจากธรรมชาติ และจัดให้มก ี ารลอยกระทงตาม ประเพณี มีประชาชนในเขต เทศบาลฯ และนักท่องเที่ยวเข้าร่วมกิจกรรมกว่า 6,000 คน

58 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


โครงการจัดงาน ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ ประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุ ร าษฎร์ ธ านี จั ด โครงการจั ด งานประเพณี ว ั น ขึ ้ น ปี ใ หม่ ประจำ�ปี 2564 ขึ้น ระหว่างวันที่ 31 ธันวาคม 2563 – 1 มกราคม 2564 ณ บริเวณศาลหลักเมืองสุราษฎร์ธานี โดยจัดให้มพ ี ธ ิ ท ี �ำ บุญตักบาตร โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 1,000 คน 59 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


เทศบาล ๑

โครงการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนโดยใช้รูปแบบ Coding Life Code (CLC)

เนือ ่ งด้วยเทศบาลนครสุราษฎร์ธานีมน ี โยบายสร้างเสริม และส่งเสริมให้ผเู้ รียนในสังกัดเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี มีทก ั ษะ กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ เพิม ่ ศักยภาพในการแข่งขันของผูเ้ รียน โดยส่งเสริมการเรียนรูด ้ ว ้ ยรูปแบบ Coding และ ให้เพื่อสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (2561 - 2580) และวิสัยทัศน์ประเทศ คือ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยัง ่ ยืน เป็นประเทศทีพ ่ ฒ ั นาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” โดยมีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติ ยั่งยืน” โดยจะยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง มี คุณภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมี ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม ในการพัฒนาประเทศให้เป็นไปตามแผนยุทธศาสตร์ชาติได้นั้น ยุทธศาสตร์ที่ ๓ เป็นยุทธศาสตร์พฒ ั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ซง ึ่ เป็นยุทธศาสตร์ทส ี่ �ำ คัญทีส ่ ด ุ ในการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในการสร้างชาติในอนาคต โครงการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนโดยใช้รูปแบบ Coding Life Code (CLC) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้มีทักษะกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบมากขึ้น 2) เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนในการแข่งขันทางวิชาการหรือสร้างสรรค์ชิ้นงานใหม่เพิ่มขึ้น 3) เพือ ่ ให้ครูสอนรายวิชาวิทยาการคำ�นวณ ระดับชัน ้ ประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้รป ู แบบ Coding Life Code (CLC) รูปแบบ Coding Life Code (CLC) สำ�หรับสถานศึกษาในสังกัดเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ระดับชัน ้ ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ที่จัดทำ�ขึ้นเพื่อมุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ คิดอย่างสมเหตุสมผล เป็นการเรียนแบบ Coding การ Coding เป็นส่วนหนี่งวิชาวิทยาการคำ�นวณ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเป็นพื้น ฐานทีส ่ �ำ คัญของวิชาเอกวิทยาการคอมพิวเตอร์ รวมไปถึงการดำ�เนินชีวต ิ อย่างมีเหตุผล โดยใช้รป ู แบบการสอนตามแนว ทฤษฎีการสร้างองค์ความรูแ้ ละการจัดการเรียนรูส ้ ะเต็มศึกษา เพือ ่ พัฒนาทักษะกระบวนการคิด โดยใช้ชด ุ กิจกรรมการ เรียนรู้ พัฒนาทักษะกระบวนการคิด “Think For Create” วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่นางสาวนิชพิมพ์ ขอจิตต์เมตต์ ครู โรงเรียนเทศบาล ๑ (แตงอ่อนเผดิมวิทยา) (นางสาวนิชพิมพ์ ขอจิตต์เมตต์, (2562)) ได้พัฒนาขึ้น และผ่านการวิจัยและพัฒนา ผลที่ได้รับจากการใช้รูปแบบการสอนฯ ดังกล่าวสามารถพัฒนาทักษะกระบวนการคิดของ ผู้เรียนได้จริง อีกทั้งยังเป็นการสอนแบบ Coding ดังนั้นจึงนำ�รูปแบบการสอนตามแนวทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้และ การจัดการเรียนรูส ้ ะเต็มศึกษา เพือ ่ พัฒนาทักษะกระบวนการคิด โดยใช้ชด ุ กิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาทักษะกระบวนการ คิด “Think For Create” วิชาคอมพิวเตอร์ ชัน ้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ทีน ่ างสาวนิชพิมพ์ ขอจิตต์เมตต์ ครูโรงเรียนเทศบาล ๑ (แตงอ่อนเผดิมวิทยา) มาใช้ในโครงการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ในชื่อ “รูปแบบ Coding Life Code (CLC)” มา ประยุกต์ใช้ในรายวิชาวิทยาการคำ�นวณ ในระดับชัน ้ ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ของครูผส ู้ อนในแต่ละระดับชัน ้ เพือ ่ ไม่ให้กระทบ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาของแต่ละโรงเรียนในสังกัด 60 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


ทั้งนี้ เทศบาลนครสุราษฎร์ธานีมีโรงเรียนในสังกัดทั้งสิ้น จำ�นวน 5 โรงเรียน โดยให้โรงเรียนเทศบาล ๑ (แตงอ่อนเผดิม วิทยา) เป็นโรงเรียนนำ�ร่องในการดำ�เนินการตามโครงการ สำ�หรับผูเ้ รียนในระดับประถมศึกษา (ป.1 - ป.6) โครงการดัง กล่าวมุ่งเน้นให้ 1) ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเองในการฝึกการคิด ฝึกการแก้ปัญหา ร่วมกับการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนแบบสร้างองค์ความรูด ้ ว ้ ยตนเอง จัดการเรียนการสอนเน้นการบูรณาการให้ผเู้ รียนมองเห็นถึงความ สัมพันธ์และความสอดคล้องของแต่ละสาขาวิชา และนำ�ความรูเ้ หล่านัน ้ มาสร้างองค์ความรูใ้ นการแก้ปญ ั หาในชีวต ิ ประจำ� วัน 2) ผูเ้ รียนมีสว ่ นร่วมในกระบวนการเรียนรูแ้ ละแสวงหาองค์ความรูด ้ ว ้ ยตนเอง ส่งเสริมให้ผเู้ รียนรูจ ้ ก ั วิธก ี ารคิดในการ แก้ปัญหา การตั้งคำ�ถาม การระบุปัญหา แสวงหาแนวทางแก้ปัญหา และเกิดทักษะกระบวนการสืบเสาะค้นหา วิเคราะห์ ข้อมูล เชื่อมโยงองค์ความรู้ และสร้างองค์ความรู้เพื่อแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง ตัวอย่าง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สำ�หรับผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ตามรูปแบบ Coding Life Code (CLC)

คลิปกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ การคิดอย่างเป็นระบบ

คลิปกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ การคิดอย่างเป็นระบบ

แผนภูมิแทงแสดงพัฒนาการทักษะกระบวนการคิดของผูเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1

แผนภูมิแทงแสดงพัฒนาการทักษะกระบวนการคิดของผูเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4

120

120 100.00

100 80

80

72.73

60

40

40 21.21

20

ดี

0.00 พอใช

จำนวนผูเรียน (คน)

46.43

20

6.06 ดีมาก

100.00

100

60

0

คลิปกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ การลองผิดลองถูก

ปรับปรุง รอยละ

รวม

0

42.86

10.71

ดีมาก

ดี

พอใช จำนวนผูเรียน (คน)

ปรับปรุง

รวม

รอยละ

ผลจากการดำ�เนินการตามโครงการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนโดยใช้รูปแบบ Coding Life Code (CLC) ในภาคเรียน ที่ 1/2564 พบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านทักษะกระบวนการดีขึ้น ดังปรากฏในกราฟแสดงพัฒนาการของผู้เรียน

61 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


โรงเรียนเทศบาล ๓ (ตลาดล่าง)

โรงเรียนเทศบาล ๓ (ตลาดล่าง) ภายใต้การบริหารงานของนางสิริสมบูรณ์ อู่เงิน ซึ่งจัดกิจกรรมการเรียนรู้และบริหาร จัดการศึกษา ตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียนเทศบาล ๓ (ตลาดล่าง) เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ผู้เรียนมีคุณภาพตาม มาตรฐาน ก้าวทันเทคโนโลยี มีธรรมาภิบาล ประสานใจพัฒนา ก้าวหน้าสู่สากล บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง มีเป้าหมาย สู่ความเป็นเลิศด้านการจัดการศึกษาตามความถนัดและความสนใจ โดยการเปิดโอกาสให้ผู้เรียน ได้เลือกกิจกรรมที่ตนถนัดและมีพื้นฐาน เพื่อพัฒนาทักษะสู่การประกอบอาชีพและการสร้างวิสาหกิจในโรงเรียน ชุมชน โดยร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ในการจัดการศึกษา เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เพิ่มพูนความรู้ ได้รับประสบการณ์ตรง และ ลงมือปฏิบัติจริง กำ�หนดข้อตกลงร่วมกันในการจัดหลักสูตรการศึกษาที่เน้นทักษะด้านอาชีพ (MOU) กับสถาบันการ ศึกษาวิชาชีพ รวมทั้งการนำ�เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร เข้ามาช่วยในการจัดการศึกษา พัฒนาศักยภาพของ ขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีต่าง ๆ ทั้งด้านทักษะ ความรู้ วิชาการ กีฬา ตลอดจนกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และการป้องกัน ยาเสพติดในสถานศึกษา ส่งผลให้โรงเรียนได้รับรางวัลต่าง ๆ มากมาย ได้แก่ “ ทีม The Shark ” รับรางวัลรองชนะเลิศ ระดับประเทศ ได้รับถ้วยรางวัลจากทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี กับการแข่งขันครั้งแรกของรุ่น PRE - TEENAGE ในการแข่งขัน TO BE NUMBER ONE TEEN DANCERCISE THAILAND CHAMPIONSHIP 2021 เมื่อวันอาทิตย์ที่ 21 มีนาคม 2564 ณ ห้างสรรพสินค้าเดอะมอลล์ บางกะปิ กรุงเทพมหานคร และไปคว้ารางวัลชนะเลิศ ได้รบ ั ถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิตย ิ าภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณส ี ริ พ ิ ช ั ร มหาวัชรราชธิดา จากการแข่งขัน The 16th Thailand National Cheerleading Championships 2020 รางวัลนักเรียนพระราชทาน ปีการศึกษา 2563 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น นางสาวจรรยาพร บุญคง ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 และนักเรียนรางวัลชมเชย ระดับประถมศึกษาตอนปลาย เด็กหญิงธัญพร ภูธิพันธุ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 นางสิริสมบูรณ์ อู่เงิน ผู้อำ�นวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๓ (ตลาดล่าง) ได้รับรางวัลคุรุสภาประจำ�ปี 2564 “ระดับดี” ระดับประเทศ ประเภทผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาจาก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษา และได้รับ เกียรติบัตร ผู้ได้รับการเสนอชื่อเข้ารับการคัดเลือกครูผู้สมควรได้รับพระราชทานรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี ครั้งที่ 4 ปี 2564 จากนายวิชวุทย์ จินโต ผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานีเมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564

62 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


63 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


โรงเรียนเทศบาล ๔ (วัดโพธาวาส)

โรงเรียนเทศบาล ๔ (วัดโพธาวาส) มุ่งเน้นการพัฒนานักเรียนในด้านคุณธรรม โดยจัดกิจกรรมสวดมนต์หมู่สรรเสริญ พระรัตนตรัยทำ�นองสรภัญญะอย่างต่อเนื่องในทุกระดับชั้น จนเกิดผลงานเป็นที่ประจักษ์ ดังต่อไปนี้ 1.ได้เข้าร่วมการประกวดสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัยทำ�นองสรภัญญะประเภททีมโรงเรียนระดับประเทศในงาน สัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนา เนื่องในเทศกาลวิสาขบูชา ประจำ�ปี 2564 ซึ่งมีผลการแข่งขันดังนี้ 1.1 ได้ รั บ รางวั ล ชมเชย ระดั บ ประเทศ ประเภทที ม 5 คน ระดั บ ประถมศึ ก ษา (หญิ ง ล้ ว น) พร้ อ มเข้ า รั บ โล่ ร างวั ล พระราชทานจาก สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 1.2 ได้รับโล่รางวัลเกียรติคุณ ระดับประเทศ ประเภททีม 5 คน ระดับประถมศึกษา (ชายล้วน) จากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม 1.3 ได้รับโล่รางวัลเกียรติคุณ ระดับประเทศ ประเภททีม 5 คน ระดับมัธยมศึกษา (หญิงล้วน) จากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม 1.4 ได้รับโล่รางวัลเกียรติคุณ ระดับประเทศ ประเภททีม 5 คน ระดับมัธยมศึกษา (ชายล้วน) จากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม

2. นางปรียา โกละกะ ผู้อำ�นวยการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๔ (วัดโพธาวาส) ได้รับรางวัลเสาเสมาธรรมจักร ผู้ ทำ � คุ ณ ประโยชน์ ต่ อ พระพุ ท ธศาสนา ประจำ � ปี พ.ศ. 2564 เข้ า รั บ พระราชทานจากสมเด็ จ พระกนิ ษ ฐาธิ ร าชเจ้ า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 64 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


โรงเรียนเทศบาล ๕

พัฒนาการศึกษาโดยยึดหลักธรรมภิบาล ให้ผู้เรียนคิดเป็น ทำ�เป็น แก้ปัญหาเป็น รักษ์ สืบสานวัฒนธรรม ประเพณี และภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น สามารถอยู่ ใ นสั ง คมได้ อ ย่ า งมี ความสุข ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งผลให้ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำ�เป็นต่อการดำ�รงชีวิต การ บริหารสถานศึกษาในสถานการณ์วก ิ ฤตไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มุง ่ เน้นการปฏิบต ั ต ิ ามแนวนโยบายภาครัฐ รวม ถึงการใช้กลไกความร่วมมือของคณะกรรมการสถานศึกษา ผูป ้ กครองและชุมชนในการดูแลนักเรียน โดยคำ�นึงถึงความ ปลอดภัยสูงสุด มีการอำ�นวยการให้นักเรียนทุกคนเข้าถึง การเรียนการสอนได้อย่างหลากหลายรูปแบบ ทั้ง OnLine (การเรียนการสอนผ่านอินเตอร์เน็ต) On Hand (การนำ�หนังสือใบงาน หรือแบบฝึกหัดทำ�ที่บ้าน) OnAir (การเรียนการ สอนผ่านโทรทัศน์ออกอากาศผ่านดาวเทียม) On Demand (การเรียนการสอนผ่านทางเว็บไซด์/ช่อง youtube) เพื่อให้ ผู้ เ รี ย นได้ รั บ การจั ด การเรี ย นรู้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเกิ ด ประสิ ท ธิ ผ ลสู ง สุ ด ส่ ง ผลให้ โ รงเรี ย นได้ รั บ รางวั ล จาก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี จากการ เข้าร่วมแข่งขันวันสัปดาห์วท ิ ยาศาสตร์ กิจกรรมการประกวด ภาพโดยใช้โปรแกรม Paint ในหัวข้อ “สิง ่ ดีๆทีเ่ กิดขึน ้ ในปัจจุบน ั ” ผ่านระบบ Zoom เมือ ่ วันที่ 18 สิงหาคม 2564 ผลปรากฏว่า เด็กหญิงชลธิชาวงศ์ วชิรวัฒน์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ได้รับรางวัลชนะเลิศ โดยมี นางสาวนัยเนตร นวลละออง ตำ�แหน่ง ครูวิทยฐานะ ครูชำ�นาญการพิเศษ เป็นครูผู้ควบคุม นอกจากนี้ นายณัฐวุฒิ จันทร์แก้ว และ นางสาวเจณิตา เสลา นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 นักศึกษาวิชาทหาร ชั้นปีที่ 2 ได้รับคัดเลือกจากหน่วยฝึกนักศึกษาวิชาทหาร มณฑลทหารบกที่ 45 ร่วมกับ หน่วยบัญชาการรักษาดินแดนเป็นตัวแทนเข้าร่วมกิจกรรม Thailand Smart Soldier Strong Man Challenge และหน่วยงานของกองทัพบกซึ่งมีการทำ�กิจกรรมตั้งแต่วันที่ 17 กรกฎาคม - 13 สิงหาคม 2564 65 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


โรงเรียนกีฬาเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี โรงเรียนกีฬาเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี จัดการเรียนการสอนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน ้ พืน ้ ฐาน พุทธศักราช 2551 เน้นเฉพาะทางสำ�หรับนักเรียนทีม ่ ค ี วามสามารถพิเศษด้านกีฬา ตามศักยภาพของผูเ้ รียน เพือ ่ ส่งเสริมความเป็นเลิศทาง ด้านกีฬาให้นก ั เรียนได้เรียนรูโ้ ดยตรง ในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนกีฬาเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี มีความพร้อมสำ�หรับ การรองรับนักเรียนทีเ่ ข้ามาศึกษาต่อด้วยหอพักทีม ่ ม ี าตรฐาน มีหอ ้ งพยาบาลสำ�หรับนักเรียน มีหอ ้ งน้�ำ และห้องสุขาแยก เป็นสัดส่วนถูกต้องตามสุขลักษณะอันพึงประสงค์

หอพักเอกเพชรพรรณ 1

เพื่อการพัฒนาศักยภาพของนักเรียน ด้านกีฬาอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนกีฬาเทศบาล นครสุราษฎร์ธานี ได้มีการปรับปรุงสนามฟุตบอล ขนาด 60x80 เมตร เป็นสนามฟุตบอลหญ้าเทียม มีรั้วตาข่ายล้อมรอบ มีระบบไฟฟ้า

โครงการก่อสร้างหลังคาคลุมลานอเนกประสงค์ สนามฟุตซอล พื้นที่สนามยางสังเคราะห์ แบบโพลียูรีเทน เสาประตูมาตรฐาน พร้อมอุปกรณ์สนาม

สนามฟุตบอลหญ้าเทียม

สนามฟุตซอล

66 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


ร้านกาแฟ COMMON

67 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


โชคชัยติ่มซำ�

68 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


เตงบุญเชียว 69 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


6

ยุทธศาสตร์การพัฒนา ด้านการบริหารจัดการที่ดี #นครมีสุข #นครของโอกาส

สร้างขวัญและกำ�ลังใจ ให้เกิดความภาคภูมใิ จ ในการทำ�งาน เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี มอบ โล่บค ุ ลากรดีเด่น ยกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากร ผู้มีความรับผิดชอบ วิริยะ อุตสาหะ ประพฤติตน เป็นแบบอย่างที่ดี เสียสละ อดทน มีการพัฒนา ตนเองอยู่เสมอ อุทิศตนสร้าง ประโยชน์แก่ทางราชการ เป็นทีร่ ก ั ใคร่ชน ื่ ชมจากบุคลากรด้วยกัน ตลอดจน สร้าง ขวัญกำ�ลังใจในการทำ�งาน และให้เกิดความภาคภูมใิ จ เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี มอบโล่ให้กับผู้ที่ได้รับคัดเลือกเป็นบุคลากรดีเด่นของเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ประจำ�ปี 2564 จำ�นวน 39 ราย

70 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


กองสารสนเทศภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี โดยกองสารสนเทศภาษี และทะเบียนทรัพย์สิน ให้ความสำ�คัญในด้านการนำ� เทคโนโลยีมาใช้ในการดำ�เนินงาน และศึกษาค้นคว้า เทคโนโลยีใหม่ๆอยู่เสนอ เพื่อพัฒนาการให้บริการ ประชาชน มีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และเป็นธรรม

กองสารสนเทศภาษี แ ละทะเบี ย นทรั พ ย์ สิ น จั ด ทำ � แผนที่ แ ม่ บ ทด้ ว ยโปรแกรมสารสนเทศภู มิ ศ าสตร์ (QGIS) ร่วมกับการหาค่าพิกัด GPS หลักเขตการ ปกครองด้วย Application ที่ทันสมัย เพื่อกำ�หนด แนวเขตการปกครองอย่างถูกต้อง แม่นยำ� จัดทำ�ทะเบียนทรัพย์สน ิ ด้วยโปรแกรมแผนทีภ ่ าษีและทะเบียน ทรัพย์สิน Ltax3000 V.4 ร่วมกับระบบคลาวด์กลางภาค รัฐ Cloud เจ้าหน้าที่ภาคสนามสามารถสืบค้น เพิ่ม ลบ และ ปรับปรุงข้อมูลทะเบียนทรัพย์สิน ซึ่งเชื่อมต่อในรูปแบบระบบ Online จากพื้นที่ภาคสนามได้อย่างสะดวก ลดขั้นตอนการ ดำ�เนินงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนพัฒนาต่อยอด โปรแกรม เพื่อถ่ายโอนข้อมูล ทะเบียนแปลงที่ดิน ทะเบียนสิ่ง ปลูกสร้าง ทะเบียนป้าย รวมทั้งรูปภาพประกอบต่างๆ จาก โปรแกรมแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน Ltax3000 V.3 สู่โปรแกรมแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน Ltax3000 V.4

เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารมุ่งเน้นการให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ผ่านช่องทางต่าง ๆ ของเทศบาล ชองทางการรับรูขอมูลขาวสาร

1

2

Page Facebook

เทศบาลนครสุราษฎรธานี เทศบาลนครสุราษฎรธานี กาวทันขาว

4

Web Site

www.suratcity.go.th

5

Instagram suratcity18

3

Facebook

Youtube

นครสุราษฎรธานี จังหวัดสุราษฎรธานี

Suratcity

6

รายการวิทยุ ทาง อสมท. เพื่อชุมชน สวท. รายการนายกเทศมนตรีพบประชาชน รายการเทศบาลพบประชาชน

7

รายการโทรทัศน NBT South และ สื่อโซเชียลมีเดีย อื่นๆ

71 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


กองยุทธศาสตร์ สรุปผลการดำ�เนินโครงการตามแผนพัฒนาเทศบาล ตารางแสดงโครงการและงบประมาณตามแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561 - 2565) ของเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ และที่ได้ดำ�เนินการ โครงการและงบประมาณ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่

ตามแผนพัฒนาท้องถิ่น

ยุทธศาสตร์

โครงการ

ที่ได้รับจัดสรร

งบประมาณ

โครงการ

ที่ได้ดำ�เนินการ

งบประมาณ

โครงการ

งบประมาณ

จำ�นวน

ร้อยละ

จำ�นวน (บาท)

ร้อยละ

จำ�นวน

ร้อยละ

จำ�นวน (บาท)

ร้อยละ

จำ�นวน

ร้อยละ

จำ�นวน (บาท)

ร้อยละ

1

ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้าน โครงสร้างพื้นฐาน

174

40.18

425,739,000.00

19.56

105

24.25

140,929,730.00

6.47

48

11.09

76,392,730.00

3.51

2

ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้าน เศรษฐกิจและการท่องเที่ยว

9

2.08

47,100,000.00

2.16

8

1.85

5,450,000.00

0.25

4

0.92

3,100,000.00

0.14

3

ยุทธศาสตร์การ พัฒนาด้านการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม

9

2.08

1,088,018,000.00

49.98

5

1.15

4,318,000.00

0.20

5

1.15

4,318,000.00

0.20

4

ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้าน การส่งเสริมคุณภาพชีวิต

137

31.64

320,437,391.00

14.72

118

27.25

10.14

82

18.94

195,288,620.00

8.97

5

ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้าน การศึกษา ศาสนา ศิลป วัฒนธรรมและประเพณี ท้องถิ่น

76

17.55

246,294,300.00

11.31

38

8.78

5.71

24

5.54

120,287,000.00

5.53

6

ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้าน การบริหารจัดการที่ดี

28

6.47

49,374,000.00

2.27

24

5.54

40,823,200.00

1.88

12

2.77

14,351,200.00

0.66

433

100.00

2,176,962,691.00

100.00

298

68.82

536,409,750.00

24.64

175

40.42

413,737,550.00

19.01

รวมทั้งสิ้น

220,684,820.00

124,204,000.00

ที่มา : งานวิจัยและประเมินผล ฝ่ายแผนงานและงบประมาณ กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ

ตารางแสดงผลการดำ�เนินงานตามแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561 - 2565) ของเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่

ยุทธศาสตร์

โครงการที่ดำ�เนินการแล้วเสร็จ

โครงการที่อยู่ระหว่างดำ�เนินการ

โครงการที่ยังไม่ได้ดำ�เนินการ

โครงการที่ยกเลิก

โครงการทั้งหมด

จำ�นวน

ร้อยละ

จำ�นวน

ร้อยละ

จำ�นวน

ร้อยละ

จำ�นวน

ร้อยละ

จำ�นวน

ร้อยละ

1

ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้าน โครงสร้างพื้นฐาน

33

11.07

15

5.03

53

17.79

4

1.34

105

35.23

2

ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้าน เศรษฐกิจและการท่องเที่ยว

4

1.34

0

0.00

2

0.67

2

0.67

8

2.68

3

ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม

3

1.01

2

0.67

0

0.00

0

0.00

5

1.68

4

ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการ ส่งเสริมคุณภาพชีวิต

81

27.18

1

0.34

22

7.38

14

4.70

118

39.60

5

ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการ ศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีท้องถิ่น

22

7.38

2

0.67

2

0.67

12

4.03

38

12.75

6

ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการ บริหารจัดการที่ดี

11

3.69

1

0.34

8

2.68

4

1.34

24

8.05

154

51.68

21

7.05

87

29.19

36

12.08

298

100.00

รวมทั้งสิ้น

ที่มา : งานวิจัยและประเมินผล ฝ่ายแผนงานและงบประมาณ กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ

72 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


สะพานโค้ง 100 ปี

73 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


74 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


75 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


พัฒนาอย่างยั่งยืนด้วย 9 นครต้นแบบ 1. นครเลิศรส • ฝึกอบรม ส่งเสริมอาชีพการผลิต จำ�หน่ายวัตถุดิบ ประกอบอาหารที่มีคุณภาพ สะอาด ปลอดภัย • ฝึ ก อบรม ให้ มี ค วามรู้ เ พิ่ ม ศั ก ยภาพในการประกอบ อาหาร จัดทำ�ช่องทางการขาย ผ่านทางตลาด Online บนแพลตฟอร์มของเทศบาล • นำ�นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาช่วย เพื่อลดต้นทุน • จั ด การให้ มี ศู น ย์ อ าหาร สถานที่ จำ � หน่ า ยที่ ส ะอาด สะดวก และ ปลอดภัย • ส่งเสริมสนับสนุนวัตถุดิบ อาหาร ผลิตภัณฑ์ ให้ได้รับ มาตรฐานจากหน่วยงาน สถาบันที่น่าเชื่อถือ • จัดตั้งกองทุนกลุ่มอาชีพ ผู้มีรายได้น้อย 2. นครสะอาด • ส่งเสริมการจัดการขยะอย่างเป็นระบบโดยวางถังขยะ ขนาดใหญ่บริเวณชุมชนหนาแน่น • สนับสนุนให้ทุกครัวเรือนคัดแยกขยะ • จัดให้มีเครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องใช้ในการฉีดล้าง ถนน ดูดฝุ่น กวาดทำ�ความสะอาด • จัดให้มเี ครือ ่ งจักร เครือ ่ งมือ เครือ ่ งใช้ในการเก็บขนขยะ กำ�จัดผักตบชวา ฯลฯ • จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพน้ำ� ระบบบำ�บัดน้ำ�เสียรวม • จัดให้มีประตูระบายน้ำ� เพื่อแก้ไขปัญหาน้ำ�เสีย 3. นครสะดวก • ถนนสวย ปลอดภัย โดยจัดการนำ�สายไฟฟ้าและสาย สื่อสารลงใต้ดิน • จัดทำ�ระบบวิศวกรรมจราจรให้ได้มาตรฐาน • จั ด ให้ มี พื้ น ที่ จ อดรถบริ เ วณต่ า ง ๆ ในเมื อ งทั่ ว ทั้ ง เทศบาล โดยมีระบบขนส่งเชื่อมต่อที่จอดรถและสถาน ที่สำ�คัญต่าง ๆ 76 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

• ปรับปรุงผังเมือง เพื่อรองรับการเจริญเติบโตของ เมือง • ก่อสร้าง ขยายถนน เพือ ่ แก้ไขปัญหาการจราจรติดขัด • ดูแล บำ�รุงรักษา ซ่อมแซมผิวจราจร ท่อระบายน้ำ� ทางเท้าให้ได้มาตรฐาน • จัดทำ�ระบบป้องกัน แก้ไขปัญหาน้ำ�ท่วม • จัดทำ�ระบบควบคุมการจราจร โดยใช้คอมพิวเตอร์ และ ปัญญาประดิษฐ์ • ติดตั้งป้ายถนน ป้ายซอยแบบใหม่ให้มีความชัดเจน สวยงาม เป็นระเบียบ รวมทั้งป้ายบอกเส้นทางหลัก ทางลัด และเครื่องหมายจราจรต่างๆ • ปรับปรุง บำ�รุงรักษา สะพานลอยให้มีความปลอดภัย สวยงาม 4. นครน่าเที่ยว • พัฒนาแหล่งท่องเทีย ่ วให้มค ี วามเชือ ่ มโยง เช่น ท่าเรือ เกาะสะพานปู น ตลาดกอบกาญจน์ ตลาดศาลเจ้ า สะพานนริศ อาคารเศรษฐภักดี เป็นต้น • จัดสร้างหอนาฬิกา ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ลาน กิจกรรม พร้อมระบบดูแลรักษาความปลอดภัย • พัฒนาและปรับปรุงบึงขุนทะเลให้เป็นสถานทีท ่ อ ่ งเทีย ่ ว สร้างเอกลักษณ์และเชื่อมโยงการท่องเที่ยว เกาะต่าง ๆ กลางบึงขุนทะเล • จัดให้มส ี ถานทีท ่ อ ่ งเทีย ่ ว สวนสาธารณะ ให้ครอบคลุม และเพียงพอ • สร้างประติมากรรม ที่เกี่ยวข้องและสอดคล้องกับวิถี ชีวิตของจังหวัดสุราษฎร์ธานี • ทำ�แผนที่นำ�เที่ยวอัจฉริยะ บน Application QR Code และในเว็บไซต์เทศบาล ฯ


5. นครสุขภาพ • จัด ให้มีการควบคุ ม ป้ อ งกั น โรคต่ า ง ๆ พร้ อมจัดหา วัสดุ อุปกรณ์ในการตรวจและป้องกันเชิงรุกแก่บุคลากร ทางการแพทย์ • ส่งเสริม สนับสนุน การดำ�เนินงาน ของแกนนำ�สุขภาพ ชุมชน • ขยายศู น ย์ บ ริ ก ารสาธารณสุ ข ให้ เ พี ย งพอต่ อ การใช้ บริการประชาชน • จัดให้มีศูนย์สันทนาการ สถานที่ และ เครื่องออกกำ�ลัง กายให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ 6. นครมีสุข • จัดให้มีศูนย์กิจกรรม แก่ผู้สูงอายุ เด็กและเยาวชน สตรี ผู้พิการ อาสา • สนับสนุนโครงการต่างๆ ที่มีความสำ�คัญของชุมชน ผู้ สูงอายุ อสม. สตรี เด็กและเยาวชน ผู้พิการ ชมรม มูลนิธิ และองค์กรสาธารณประโยชน์ต่างๆ • จัดให้มีมาตรฐานการจัดบริการสาธารณะครอบคลุม • จัดทำ�ฐานข้อมูล เพื่อบริหารจัดการสวัสดิการเบี้ยยังชีพ และหลักประกันรายได้ ส่งเสริมความรู้ การดูแลสุขภาพ เฉพาะกลุ่ม และให้ความรู้ด้านสวัสดิการสังคม • สนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหา กษัตริยท ์ รงเป็นประมุข และรณรงค์ให้ประชาชนเห็นความ สำ�คัญของการใช้สิทธิในการเลือกตั้งทุกระดับ 7. นครปลอดภัย • ปรับปรุงระบบไฟฟ้า แสงสว่างสาธารณะ ให้เหมาะสมกับ การใช้งานอย่างทั่วถึง • สนับสนุนการกู้ชีพ กู้ภัยให้มีอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ พร้อมสำ�หรับการปฏิบัติงานในน้ำ�ลึก อาคารสูง • สร้ า งเครื อ ข่ า ยเคลื่ อ นที่ เ ร็ ว ตรวจตราความปลอดภั ย พร้อมให้การช่วยเหลือ โดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน เช่น ตำ�รวจ กู้ภัย มูลนิธิ ฯลฯ • จัดหา บำ�รุงรักษายานพาหนะ และอุปกรณ์ในการกู้ภัย ให้ มีความพร้อมเพียงพอต่อการปฏิบัติงาน • เพิม ่ สถานีปอ ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย ให้เหมาะสมกับ การบริการในพื้นที่ • ติดตั้งกล้อง CCTV ให้ทั่วถึง ครอบคลุมทุกพื้นที่เพื่อ สนั บ สนุ น การดู แ ลระบบจราจรและการรั ก ษาความ ปลอดภัย • จั ด ให้ มี เ สี ย งตามสายให้ ค รอบคลุ ม ทุ ก พื้ น ที่ ชุ ม ชนเพื่ อ ให้ ป ระชาชนได้ รั บ ข้ อ มู ล ข่ า วสารของเทศบาลนคร สุราษฎร์ธานีได้อย่างทั่วถึง

8. นครของโอกาส • จัดให้มศ ี น ู ย์สง ่ เสริมและพัฒนาเด็ก เยาวชน ส่งเสริมสภา เด็กและเยาวชน สู่ความเป็นเลิศ • จัดให้มีลานกีฬาชุมชนเพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬาสร้างสุข ภาวะที่ดี • สนับสนุน พัฒนาศักยภาพ เด็กและเยาวชนให้มีความ เป็นเลิศด้านกีฬา สามารถก้าวสูน ่ ก ั กีฬาเยาวชนแห่งชาติ นักกีฬาทีมชาติ ตลอดจนนักกีฬาอาชีพต่อไป • ส่งเสริมการเรียนรูห ้ ลักสูตรวิทยาการคำ�นวณ (Coding) การเรียนรู้หลักสูตรสองภาษา (Bilingual) และหลักสูตร ความเป็นเลิศในด้านต่างๆ ตลอดจนการเรียนรูจ ้ ากแหล่ง เรียนรู้ดิจิตอล ที่ทันสมัย ให้เรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาด้วย การศึกษาตลอดชีวิต (Lifelong Education) • ร่วมมือกับสถาบันการศึกษา สร้างหลักสูตรการเรียนใน โรงเรียนสังกัดเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ส่งเสริมการ ศึกษาเฉพาะทางตามความถนัดของผู้เรียนและมีทักษะ เฉพาะด้าน ยกระดับขีดความสามารถของเด็กทุกช่วงวัย • ส่งเสริมเด็กอยากเรียนต้องได้เรียนต่อเนื่องจนจบการ ศึกษา ประกอบอาชีพที่ชอบ ตั้งโรงเรียนพิเศษรองรับ จำ�นวนนักเรียนในแต่ละปีให้เพียงพอ • จัดให้มีการดูแลสุขภาพเด็ก ด้านทันตกรรม สายตา และ โภชนาการ • สนับสนุนให้โรงเรียนเทศบาลแต่ละแห่งมีความเป็นเลิศ ตามสาขาที่เหมาะสม • สนับสนุนทุกบ้านมีโอกาสใช้พลังงานสะอาด • ส่งเสริม สนับสนุน การทำ�งานของชุมชน และจัดตัง ้ ชุมชน ใหม่ตามความเหมาะสม • จัดให้มีลดขั้นตอนการติดต่อราชการ ให้มีความสะดวก รวดเร็วยิ่งขึ้น เช่น One Stop Service สายด่วนนายก ฯ • นำ�เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการทำ�งาน และส่งเสริม โอกาสให้ ป ระชาชนมี ส่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นาเทศบาล “ร่วมคิด ร่วมทำ� ร่วมตัดสินใจ และร่วมรับผิดชอบ” 9. นครประเพณีดีงาม • ส่งเสริม สนับสนุนประเพณี วัฒนธรรม ให้เป็นประเพณี สำ�คัญระดับประเทศ โดยการมีสว ่ นร่วมของส่วนราชการ ภาคเอกชน วั ด และประชาชนทุ ก ภาคส่ ว น เช่ น งาน ประเพณีชักพระและแข่งเรือยาว • ส่งเสริม สนับสนุน ศูนย์ภม ู ป ิ ญ ั ญาท้องถิน ่ เช่น การเรียน รู้สมุนไพรไทยเพื่อสืบสาน สู่รุ่นใหม่ • สนับสนุน ส่งเสริมทุกศาสนาให้เป็นส่วนหนึ่งของการ ยกระดับจิตใจผ่านกิจกรรม หรือ โครงการสำ�คัญทาง ศาสนานั้น ๆ • สนับสนุน มูลนิธิ สมาคม ชมรม ให้มีการทำ�กิจกรรมเพื่อ ส่วนรวม

“มีธรรมาภิบาล ทำ�งานเพื่อประชาชน”

77 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


ประมาณการรายรับ-รายจ่าย ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564)

ประเภทรายรับ

ประมาณการรายรับ (บาท)

รายรับจริง (บาท)

107,940,000.00

36,001,407.99

หมวดค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และใบอนุญาต

20,126,000.00

14,640,295.50

หมวดรายได้จากทรัพย์สิน

28,000,000.00

15,364,791.16

หมวดรายได้จากสาธารณูปโภค และการพาณิชย์

7,500,000.00

5,988,576.60

หมวดรายได้เบ็ดเตล็ด

2,601,000.00

2,166,025.97

500,000.00

785,730.00

519,000,000.00

507,873,911.07

514,333,000.00

424,144,700.00

1,200,000,000.00

1,006,965,438.29

ประมาณการรายจ่าย (บาท)

รายจ่ายจริง (บาท)

งบกลาง

200,109,410.00

173,154,818.56

งบบุคลากร

429,483,523.00

409,439,048.11

งบดำ�เนินงาน

398,968,394.00

304,082,449.55

งบลงทุน

150,121,743.00

101,020,956.00

งบเงินอุดหนุน

20,871,930.00

19,124,535.58

งบรายจ่ายอื่น

50,000.00

รายได้จัดเก็บเอง หมวดภาษีอากร

หมวดรายได้จากทุน รายได้ทร่ี ฐ ั บาลเก็บแล้วจัดสรรให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน ่ หมวดภาษีจัดสรร รายได้ที่รัฐอุดหนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมวดเงินอุดหนุน รวมรายรับ ประเภทรายจ่าย

รวมรายจ่าย รายรับ - รายจ่าย ที่ไม่ต้องตราเป็นงบประมาณรายจ่าย เงินอุดหนุนที่ไม่ต้องตราเป็นงบประมาณรายจ่าย รวมรับจ่าย - รายจ่าย ที่ไม่ต้องตราเป็นงบประมาณรายจ่าย

78 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

1,199,605,000.00

1,006,821,807.80

รับจริง (บาท)

จ่ายจริง(บาท)

59,611,338.75

59,611,338.75

59,611,338.75

59,611,338.75


ป้ายาขนมหวาน

79 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


สถิติข้อมูลทะเบียนราษฎร

สถิติประชากร ประจำ�ปีงบประมาณ 2564 ระหว่าง เดือนตุลาคม 2563 - กันยายน 2564

ตุลาคม 2563

62,949

69,044

131,993

พฤศจิกายน 2563

62,658

69,026

131,684

ธันวาคม 2563

62,604

68,995

131,599

มกราคม 2564

62,585

68,935

131,520

กุมภาพันธ 2564

62,748

68,984

131,732

มีนาคม 2564

62,713

69,016

131,729

เมษายน 2564

63,161

68,957

132,118

63,023

68,918

131,941

พฤษภาคม 2564 มิถุนายน 2564

62,987

68,973

131,960

กรกฎาคม 2564

62,976

68,994

131,970

สิงหาคม 2564

63,145

69,346

132,491

กันยายน 2564

63,229

69,573

132,802

ชาย

หญิง

สถิติการบริการงานทะเบียนราษฎร ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ.2563 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ.2564

การเกิด

รวม 5,414 คน

80 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

การตาย

รวม 2,320 คน

การย้ายออก

รวม 12,859 คน

การย้ายเข้า

รวม 9,105 คน


งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ภารกิจหลัก • ปฏิบัติงานบรรเทาสาธารณภัยที่เกิดขึ้นในเขตเทศบาล และพื้นที่ใกล้เคียงที่ขอรับการสนับสนุน เช่น อัคคีภัย อุทกภัย วาตภัย ภัยแล้ง อุบัติภัย แเละสาธารณภัยอื่นๆ เพื่อบรรเทาความเดือดร้อน ลดการสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินให้กับประชาชน • เตรียมพร้อมอัตรากำ�ลัง วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ในการบรรเทาสาธารณภัย • ตรวจแนะนำ�การป้องกันอัคคีภัยในอาคารสถานประกอบการในเขตเทศบาล • งานการตรวจสอบท่อประปาดับเพลิง • ฝึกซ้อมแผนการดับเพลิงประจำ�สัปดาห์ • งานบริการอื่น ๆ ที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย อัตรากำ�ลัง

พนักงาน เทศบาล 7 คน

อุปกรณ์ในการบรรเทาสาธารณภัย

ลูกจ้าง ประจำ� 5 คน

พนักงานจ้าง 39 คน

รถยนต์ดับเพลิง

6

คัน

เรือดับเพลิง

1

ลำ�

รถยนต์บรรทุกน้ำ�

4

คัน

เรือตรวจการณ์

-

ลำ�

รถยนต์กู้ภัย

1

คัน

เรือท้องแบน

3

ลำ�

รถยนต์บันไดเลื่อน

1

คัน

เครื่องสูบน้ำ�

8

เครื่อง

รถยนต์ตรวจการณ์

2

คัน 81

รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


สถานธนานุบาลเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี “บริหารโปร่งใส มั่นคงก้าวไกล ใส่ใจบริการ”

สถานธนานุบาลเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี “โรงรับจำ�นำ�ของเทศบาล” จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติโรงรับจำ�นำ� พ.ศ.2505 เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.2509 ตั้งอยู่เลขที่ 201/1 ถนนตลาดใหม่ ตำ�บลตลาด อำ�เภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี เปิดดำ�เนินการโดยมีวต ั ถุประสงค์ทส ี่ �ำ คัญ คือ เพือ ่ ช่วยเหลือประชาชนผูม ้ รี ายได้นอ ้ ยทีป ่ ระสบปัญหา เฉพาะหน้า โดยการนำ�ทรัพย์สินมาจำ�นำ�และเสียดอกเบี้ยในอัตราต่ำ� ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สถานธนานุบาล ฯ มีมาตรการช่วยเหลือประชาชนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด เชือ ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) รวมไปถึงมาตรการช่วยเหลือผูป ้ กครองช่วงเปิดภาคการเรียน ปีการศึกษา 2564 โดย มีการขยายระยะเวลาการไถ่ถอนทรัพย์รับจำ�นำ� และปรับลดอัตราดอกเบี้ยอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี ดังนี้ ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2563 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2563 • เงินต้นไม่เกิน 5,000.00 บาท คิดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.50 ต่อเดือน • เงินต้นเกินกว่า 5,000.00 บาท คิดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.00 ต่อเดือน ระหว่างวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.2563 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2563 • เงินต้นไม่เกิน 5,000.00 บาท คิดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.25 ต่อเดือน • เงินต้นเกินกว่า 5,000.00 บาท คิดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.00 ต่อเดือน ระหว่างวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2564 ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2564 • เงินต้นไม่เกิน 5,000.00 บาท 2 เดือนแรก ไม่คิดดอกเบี้ย จากนั้นคิดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.25 ต่อเดือน • เงินต้นเกินกว่า 5,000.00 บาท คิดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.00 ต่อเดือน ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2564 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.2564 • เงินต้นไม่เกิน 5,000.00 บาท คิดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.25 ต่อเดือน • เงินต้นเกินกว่า 5,000.00 บาท คิดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.00 ต่อเดือน ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2564 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2564 • เงินต้นไม่เกิน 5,000.00 บาท คิดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.50 ต่อเดือน • เงินต้นเกินกว่า 5,000.00 บาท คิดอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1.00 ต่อเดือน และได้ขยายเวลาไถ่ถอนทรัพย์รับจำ�นำ� จาก 4 เดือน 30 วัน เป็น 6 เดือน 30 วัน สำ�หรับทรัพย์ที่รับจำ�นำ� ในช่วง ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2563 ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ.2563 และช่วงระหว่างวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2564 ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.2564 ผลการดำ�เนินงานในงวดปีงบประมาณ 2564 หน่วย:ราย 1. ทรัพย์รับจำ�นำ� (รับจำ�นำ�) 23,528 2. ทรัพย์รับจำ�นำ� (ไถ่ถอน) 23,469 3. รายได้ 4. รายจ่าย 5. กำ�ไรสุทธิ

หน่วย:บาท 535,579,200.00 536,083,350.00 23,161,432.03 4,817,214.98 18,344,217.05

ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สถานธนานุบาล ฯ จะนำ�เงินจัดสรรให้แก่เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ในอัตราร้อยละ 30 จาก ผลกำ�ไรสุทธิในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 เป็นเงินจำ�นวน 5,503,265.12 บาท เพื่อให้เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี นำ�ไป ทำ�นุบำ�รุงท้องถิ่น ซึ่งจะจัดสรรให้ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 82 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


83 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


ผู้นำ�องค์กรเครือข่ายภาคประชาชน

นายประเสริฐ บุญประสพ ประธานกรรมการบริหาร กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

นายพิทักษ์ นาคเสนา ประธานชมรมอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำ�หมู่บ้าน เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

นายสุรพงษ์ ชุมพล ประธานเครือข่ายผู้สูงอายุ

นางสาวธัญวรัตน์ มณีวัต ประธานชมรมผู้ประกอบการ ตลาดนัด ตลาดน้ำ� บ้านดอน

84 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

นางละม้าย พร้อมประเสริฐ ประธานแกนนำ�สตรี

นายวิสุทธิ์ สุขสวัสดิ์ ประธานเครือข่ายชุมชน

นายอภิชาติ ไตรจรูญเลิศ ประธานชมรมผู้ประกอบการ แผงลอยจำ�หน่ายอาหาร

นายประสาร แซ่ฉั่ว ประธานตลาดสะพานโค้ง

นายอรุณ สุขสวัสดิ์ ประธานชมรมผู้ประกอบการ ตลาดสดเทศบาลนคร สุราษฎร์ธานี

นายชยุตม์ เชาวน์ณัฐเศวตกุล ประธานชมรมผู้ประกอบการ ถนนคนเดิน


หมายเลขบริการด่วน 199 เหตุเพลิงไหม

0-7727-2075, 0-7727-2400 (บอกสถานที่เกิดเหตุใหชัดเจน

191 เหตุราย

1662 ทอประปาแตก - รั่ว

1193 ตำรวจทางหลวง

1567 0-7728-1044 ศูนยดำรงธรรม

เทศบาลนครสุราษฎรธานี

0-7772-7232 หนวยกูชีพ มูลนิธีกุศลศรัทธา

ศูนยดำรงธรรม จังหวัดสุราษฎรธานี

1156 สายดวนผูบริโภค กับ อย.

1129 ไฟฟาขัดของ

1155 ตำรวจทองเที่ยว

1669 ศูนยกูชีพโรงพยาบาล สุราษฎรธานี

1506 ศูนยบริการขอมูล สำนักงานประกันสังคม 85 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


สะพานศรีสุราษฏร์

86 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


87 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


88 รายงานกิจการประจำ�ปี 2564 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี


Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.